วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
จากการศึกษาสมบัติต่าง
ๆ ของธาตุในตารางธาตุ เช่น ขนาดอะตอม
พลังงานไอออไนเซชัน
และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี
จะพบว่าสมบัติเหล่านี้มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงจากซ้ายไปขวาในแต่ละคาบ
หรือจากบนลงล่างในแต่ละหมู่ค่อนข้างสม่ำเสมอ สมบัติเกี่ยวกับจุดหลอมเหลว จุดเดือด
และความเป็นกรด–เบสของสารประกอบคลอไรด์และออกไซด์ ดั อ่านเพิ่มเติม
3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA
และ IIA
นักเรียนทราบมาแล้วว่าธาตุหมู่ IA
และ IIA เป็นโลหะ เมื่อทำปฏิกิริยากับอโลหะแล้วจะเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกเป็นส่วนใหญ่
ในตอนนี้นักเรียนจะได้ศึกษาเพิ่มเติมอีกว่าโลหะหมู่ IA และ IIA เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำจะเกิดปฏิกิริยาได้ช้าหรือเร็วแตกต่างกันหรือไม่
ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีสมบัติเป็นอย่างไรจากการทดลองต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
การจัดธาตุให้อยุ่ในหมู่ใดของตารางธาตุจะใช้สมบัติที่คล้ายกันเป็นเกณฑ์
ในตารางธาตุปัจจุบันได้จัดให้ธาตุไฮโดรเจนอยู่ในคาบที่ 1 ระหว่างหมู่ IA กับหมู่ VIIA
เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ให้ศึกษาสมบัติบางประการของธาตุไฮโดรเจนเปรียบเทียบกับสมบัติธาตุหมู่ IA และหมู่ VIIA อ่านเพิ่มเติม
3.4ธาตุแทรนซิชัน
นักเรียนได้ศึกษาสมบัติบางประการของธาตุหมู่ A มาแล้ว ต่อไปจะได้ศึกษาธาตุอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งอยู่ระหว่างธาตุหมู่ IIA และหมู่ IIIA ที่เรียกว่า ธาตุแทรนซิชัน ประกอบด้วยธาตุหมู่ IB ถึงหมู่ VIIIB รวมทั้งกลุ่มแลนทาไนด์กับกลุ่มแอกทิไนด์ อ่านเพิ่มเติม
3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
เมื่อพิจารณาตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบัน จะพบว่าค่อนไปทางขวาของตารางธาตุจะมีเส้นทึบเป็นขั้นบันไดปรากฏอยู่ ธาตุทางขวาเส้นทึบจัดเป็นกลุ่มอโลหะ ส่วนทางด้านซ้ายจัดเป็นกลุ่มโลหะ สำหรับธาตุที่อยู่ชิดเส้นแบ่งนี้จะเรียกว่า ธาตุกึ่งโลหะ มีดังนี้
3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
ในปี ค.ศ. 1896 (พ.ศ.2439) อองตวน อองรีแบ็กเกอเรล นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
พบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียม
ฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสง และเมื่อทำการทดลองมีสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่นๆ
ก็ได้ผล เช่นเดียวกัน จึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียม อ่านเพิ่มเติม
3.7 การทํานายตําแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
การศึกษาสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
จะช่วยในการทำนายสมบัติของธาตุได้
ถ้ารู้ตำแหน่งของธาตุนั้นในตารางธาตุหรือถ้ารู้สมบัติบางประการของธาตุอาจพิจารณาตำแหน่งของธาตุได้
ดังตัวอย่างการจัดตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนที่ศึกษามาแล้ว
ต่อไปนักเรียนจะใช้ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุมาทำนายตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุได้จากตัวอย่าง
อ่านเพิ่มเติม
3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุและสมบัติของธาตุต่างๆ
มาแล้ว ต่อไปนี้จะศึกษาธาตุและสารประกอบของธาตุที่สำคัญบางชนิด
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์สัตว์และพืช
พร้อมทั้งศึกษาถึงผลกระทบที่จะมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)